ในการที่นักเรยี นดีทีเอส/ซีดีทีเอส ของท่านได้รับหน่วยกิตจากUofNสําหรับ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส,ในการเรยี นของแต่ละสัปดาห์ของดีทีเอส/ซีดีทีเอสจะ
ต้องมีการ ลงทะเบียนอย่างเหมาะสมใน ฟอร์มAของ UofN และได้รับการลงทะเบียนอย่าง เหมาะพร้อมจ่ายค่าลงทะเบียน (ดูจากการลงทะเบียน ออนไลน์)
- เป้าหมาย และหลักสูตรการสอนเบื้องต้นของดีทีเอส/ซีดีทีเอส ได้รับการจํา กัดความโดยผู้นําาระดับสากลของ UofN ขอให้ดูเอกสารท่ี ช่ือ “คําอธิบายเป้า หมาย,หลักสูตร ของดีทีเอส/ซีดีทีเอส” เพื่อรับรองว่าดีทีเอส/ซีดีทีเอสยังคงไว้ซ่งึ นิมิต, ซึ่งเป็นสิง่ สําคัญมากท่ีผู้นํา ดีทีเอส/ซีดีทีเอสจะรักษาเป้าหมาย ปณิธาน ให้แน่วแน่ และเป้าหมายท่ีเจาะจงต่างๆ และวัตถุประสงค์ของแต่ละโรงเรยี นได้ สนับสนุน ให้ปณิธานเป้าหมายหลักใหญ่นั้นสําเร็จ และเนื้อหาใจ ความสามารถสําเร็จได้ โดยมีพ้ืนฐานจากภายใจขอบเขตของคําแนะนํา
- The DTS must contain a minimum of 11 teaching content weeks, with a minimum of 12 teaching content hours per week for one language ( a minimum of 16 hours for a bi-lingual school) in addition to the other learning activities described in the document on “Full Learning Weeks“. The DTS must contain a minimum of 8 Field Assignment weeks. However, all leaders are encouraged to run a 24 week DTS course which will enable students to receive the maximum 24 credits allowed for a U of N DTS. This is based on the credit evaluation of one credit per “full learning week”.
- ดีทีเอส/ซีดีทีเอส เป็นโรงเรยี นการฝึกอบรมครสิ เตียนแบบเต็มเวลา ได้รับการ ออกแบบที่จะเป็นการบังคับให้คนเอาตัวเองออกมาจาก งาน หรอื โรงเรยี น หรอื อ่ืนๆ เพื่อช่วงเวลาท่ีเจาะจงอย่างน้ีและให้เวลาความตั้งใจน้ีท้ังหมดท่ีจะได้รับการ ฝึกฝน สร้างใน ดีทีเอส/ซีดี ทีเอส
- Each week of the complete DTS course must be a “Full Learning Week” as described in the document entitled “Full Learning Weeks“. Three hours of intercession are required per week throughout all of the DTS course weeks.
- Regularly scheduled one-on-one meetings between staff and students are to be carried out for feedback, assessment & evaluation. Our goal is one such individual meeting a week. See “One on Ones in the DTS” document.
- ดีทีเอส/ซีดีทีเอส จะต้องมีงานภาคสนามอย่างน้อย 8 สัปดาห์ ในทั้งหมด ของโปรแกรม และจะต้องทําตามคําแนะนําที่ระบุ ไว้ใน เอกสารอ้างอิง ั ของUofN ชื่อ “นโยบาย และข้นตอน งานภาคสนามออกประกาศ ของUofN” (“YWAM/U of N Field Assignment-Outreach Policy and Procedure”)DTS Outreach Fruitful Practice“, “Minimum Criteria for DTS Staffสิง่ สําคัญอันดับแรกของการออกประกาศ คือ การประกาศข่าว ประเสรฐิ ไม่ใช่แค่ การอธิษฐานวงิ วอน หรอื การทํางาน และจะต้องรวมกิจกร รมการทําพันธกิจรับใช้คนอ่ืนนอกจากในทีมอย่างน้อย 30 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กล ยุทธ์การทําพันธกิจต้องมาจากการอธิษฐาน และพันธิกิจโดยรวมส่วนใหญ่จะ ต้องเป็นการมีส่วน เกียวข้องกับผู้คนด้วยจุดประสงค์ ที่จะช่วยให้เขาได้มาเป็น ผู้ติดตามพระเยซู (การประกาศฯ)จะต้องมีอย่างน้อง15 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ของ โครงสร้างอื่นๆในกิจกรรมการ เรยี น เช่น การสื่อสาร การสร้างทีม สรุปผล พันธกิจ ฟีดแบ็ค แบ่งปันความจําเป็นต่างๆ อธิษฐานเผ่ือกัน การเตรยี มตัวทํา ัั พันธกิจ รวมถึงการอธิษฐานวงิ วอน 3 ช่วโมง และการนมัสการเป็นทีม 3 คร้ง (เวลาเจาะจงท่ีพระเจ้า) ซึ่งจะทําตลอดช่วงทุกๆสัปดาห์ของ การออกประกาศ เราควรพยายามที่ช่วยให้นักเรยี นได้พบเห็นรู้จัก การทรงเรยี กสู่พันธกิจทั้ง 3 ด้านของวายแวม ซึ่งรวมไปถึงพันธกิจ เมตตา และควรจะมีประสบการณ์ในการ ประกาศข้ามวัฒนธรรมด้านบวก เพ่ือแต่ละคนจะเห็นผล เราอยากจะให้นักเรยี น เห็นการทํา พันธกิจจรงิ ๆ และชอบการทําพันธกิจ เช่นเดียวกันกับสัปดาห์การ ประกาศควรจะคํานึงถึง การนําเนื้อหาที่ได้เรยี นรู้ตลอดดีทีเอส/ซีดี ทีเอสมา ใช้จรงิ ผู้นําการประกาศควรจะช่วยนักเรยี นให้เห็นว่าจะนําเน้ือหาท่ีเรยี นมาใช้ จรงิ ได้อย่างไร อย่างต่อเนื่องในการทําพันธกิจ (เช่น หัวใจพระบิดาจะเก่ียวข้อง อย่างไรกับ ั การออกประกาศคร้งนี้) และการประยุกต์ใช้วชิ าสงครามฝ่ายวญิ ญาณ พระคํา อ่ืนๆ ให้ดู ในเอกสาร ‘DTS/CDTS Outreach Best Practice Document’ www.ywamdtscentre.com
- YWAM’s Foundational Values ค่านิยมพื้นฐานของวายแวมต่างๆจะต้องสอน,ทําเป็นแบบอย่าง และผสม ผสานเข้าในดีทีเอส/ซีดีทีเอส ดูเอกสารชื่อ “The Foundational Values of Youth With A Mission”.
- สภาพแวดล้อมชอง ดีทีเอส/ซีดีทีเอส live/learn environment จะต้องเป็นสิง่ แวดล้อมท่ีการอยู่/ การเรยี นรู้ อย่างท่ีระบุไว้ใน แคตาล๊อกของUofN ใน ( the general information section) ปรัชญาการ อยู/เรยี นรู ้ เป็นแนวคิดการเรยี นรู ้ใน ชุมชน ซึ่งจะเร่งให้เกิดขบวนการเรยี นรู ้และในระดับ ลึกลงไป
- ผู้นํา/สต๊าฟ ที่ได้รับการฝึกที่มีคุณสมบัต มีคุณลักษณะ,การทรง เรยี ก,ของประทาน และความสามารถ เป็นคุณสมบัติจําเป็นในการนํา ดีทีเอส/ซีดีทีเอส อย่างมีประสิท่ ธิภาพ ดังนั้นผู้นํา/สต๊าฟจะต้องมีการฝึก อบรมอย่างต่อเน่ืองในระดับศูนย์ท้องถิน่ ดีทีเอส/ซีดีที เอส ไม่สามารถท่ีจะ สร้าง หรอื นํา ดีทีเอส/ซีดีทีเอสที่มีคุณภาพเพื่อให้เป็นไปตามข้อบังคับของ UofN โดยไม่มีการเสรมิ สร้างฝึกฝน อบรม เพ่ืองานที่จะทํา ดังน้ัน,การฝึก อบรมของผู้นํา/สต๊าฟ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส จะต้องให้คุณค่าในแนวทางที่ ผู้นํา/สต๊าฟ ดีทีเอส/ซีดี ทีเอส ได้ให้เวลาในตารางของเขาที่จะรับการฝึกฝน ก่อนและระหว่าง ดีทีเอส/ซีดีทีเอส ผู้นํา/สต๊าฟ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส ไม่ควรจะ ได้ รับการคาดหวัง หรอื มีบทบาทท่ีจะอื่นๆที่จะใช้เวลามากๆ นอกเหนือจากเป็น ผู้นํา/สต๊าฟ ดีทีเอส/ซีดีทีเอสในศูนย์อย่างน้อย สองสาม สัปดาห์ก่อน หรอื ระหว่าง เช่น หน้าท่ี บทบาท ท่ีแข่งกับการเป็น สต๊าฟ หรอื ผู้นํา ดีทีเอส/ซีดีทีเอส ซ่งึ ไม่สามารถทําให้พวกเขาทํา หน้าที่ รับผิดชอบได้อย่างสมบูรณ์ สังเกตุ : “มีคุณภาพ” คาดว่าผู้นําศูนย์ได้ตั้ง มาตรฐานขั้นต้น สําหรับ คุณสมบัติ ให้ดูเอกสาร “U of N School Leaders Preamble”; “U of N School Leaders Characteristics”; “U of N School Leaders Accountability”; “U of N School Leaders Responsibilities”; “Who Can Lead a U of N School?”; “Minimum Criteria for DTS Staff ”.
- วทิ ยากรที่มีคุณภาพผู้ที่เป็นตัวแทนและเป็นแบบอย่างในการดําเนิน ชีวติ และมีค่านิยมวายแวมร่วมผสมผสานในคําสอน และการ สนทนากับ นักเรยี น เป็นสิง่ สําคัญต่อการเติบโตขบวนการการเรยี นรู ้ของ ดีทีเอส/ซีดี ทีเอส อย่างน้อย วทิ ยากรบางคนควรเป็นคนต่าง ชาติ จากเบ้ืองหลังต่าง คณะนิกาย และควรจะมีผู้หญิงรวมอยู่ด้วย
- การปฐมนิเทศก์สู่วายแวม ค่านิยม การทรงเรยี ก และโอกาสการทํา พันธกิจ ควรจะเป็นส่วนหนึ่งของทุกๆ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส ผู้นํา/ สต๊าฟ มี สิทธิพิเศษ และความรับผิดชอบที่จะกระตือรอื ร้นเชื่อมโยงให้นักเรยี นได้ มีส่วนในพันธกิจหลากหลายโดยดูจากพื้นฐานความ สนใจเป็นพิเศษ,ของ ประทาน,ความสามารถและการทรงเรยี ก
- การปฐมนิเทศก์สู่ UofN และคอร์สในอนาคตต่างๆ จะต้องนําเสนอให้ นักเรยี น เป็นการช่วยที่จะให้นักเรยี นเห็นภาพใหญ่ของพันธกิจใน ส่วนของ การฝึกอบรมต่างๆผ่านมหาวทิ ยาลัย uofn.edu should be carried out with students, enabling them to see the bigger picture of missions training available to them through the University. DTS/CDTS leaders/staff should make sure that all other students should have equal access to U of N course information.
- การให้เกรดและประเมินเป็นภาคบังคับใน ดีทีเอส/ซีดีทีเอส
ก. การให้เกรดและประเมินนักเรยี น: เกณฑ์การประเมินและการให้เกรด จะต้องสื่อสารให้ชัดเจนกับนักเรยี นโดยผู้นํา ดีทีเอส/ซีดี ทีเอส ตั้งแต่เมือ เรม่ิ ต้นของ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส และตอนท้ายของโรงเรยี น นักเรยี นแต่ละ คนจะต้องได้รับการประเมินและพิจารณาให้ เกรด ในเร่อื งเกณฑ์ดังกล่าว จากนั้นนักเรยี นจะได้รับเกรด จะเป็น S คือ สมบูรณ์แบบเป็นที่พอใจของ ดีทีเอส/ซีดีทีเอสหรอื Uคือไม่สมบูรณ์ไม่เป็นที่พอใจในการทําดีทีเอส/ ซีดีทีเอส
ข. การประเมินโรงเรยี น และการวัดผล: ทุกๆ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส ทั้งภาค ทฤษฏี และออกประกาศ รวมไปถึงสต๊าฟ/ผู้นําา จะต้อง ทําต่อเนื่องจน สุดท้ายของแต่ละ ดีทีเอส/ซีดีทีเอสทั้งนักเรยี น และ สต๊าฟ/ผู้นํา ผู้นํา เบสมีหน้าท่ีรับผิดชอบโดยตรงต่อคุณภาพของ โปรแกรม ดีทีเอส/ซีดีที เอส และคุณภาพของ สต๊าฟ/ผู้นํา ดีทีเอส/ซีดีทีเอส รวมไปถึงการทําข้อ บังคับต่างๆของUofN ให้สําาเร็จ ซึ่ง ระบุไว้ในเอกสารช่ือ “Guidelines for YWAM/U of N Discipleship Training Schools” การ ประเมินผลของทุกๆ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส และผู้นํา/สต๊าฟโดยนักเรยี น และ สต๊าฟของโรงเรยี นนั้นๆจะต้องให้ฟีดแบ็คต่อผู้นําเบสตามที่มีผลต่อ นักเรยี นตามการตัดสินใจที่ส่งผล ต่อ ดีทีเอส/ซีดีทีเอส เพ่ือการปรับ เปลี่ยนจะได้เกิดข้นึ เพื่อให้แน่ใจว่าการเปลี่ยนแปลงท่ีถาวรในการฝึกอบรม ได้เกิดขึ้นในทุกๆ ดีทีเอส/ ซีดีทีเอส และในทุกศูนย์วายแวม